ถ้าคุณกำลังประสบปัญหาเหล่านี้!!! ภาระค่าใช้จ่ายเยอะ มีหนี้สิน ชีวิตพังตกงาน ไม่มีงานทำ กำลังจะออกจากงานเงินไม่พอใช้ รายได้งานประจำไม่พอใช้จ่ายเบื่องานประจำ ไม่มีรายได้ แต่รายจ่ายไม่ลดลงมีทุนน้อยในการทำธุรกิจอยากขายแต่ไม่อยากสต็อกสินค้าไม่มีความรู้เรื่องการทำธุรกิจไม่มีที่ปรึกษาระหว่างการทำธุรกิจต้องการขายออนไลน์แต่ไม่รู้จะเริ่มตรงไหนดี 🌹 ติดต่อเราเลยค่ะ Tel&Line 089-707-2874 🌹
ข่าว ธุรกิจออนไลน์ 100%
- หน้าแรก
- VDO สำหรับนักธุรกิจMLM
- บริษัทเครือข่ายผิดกฏหมาย
- บทความทั้งหมด
- MEDIAS / ิสื่อทุกสำนัก
- บทความเกี่ยวกับการทำธุรกิจออนไลน์ 100%
- Artificial Intelligence (AI)
- MLM คือ?
- ทำธุรกิจออนไลน์ รู้จักคนเจนซี Z หรือยัง?
- ข้อมูลงานออนไลน์ที่ดีที่สุด
- แผนรายได้ล่าสุดของDroprich
- 🌹🌹ข้อมูลเกี่ยวกับ Droprich ดรอปริช ทั้งหมด
- 🌹Contact Us
- คุณคือคนที่ต้องการเรียนรู้ตลอดชีวิตหรือไม่
- เพชฌฆาต ที่จะคอยฆ่าคนที่ทำธุรกิจ ให้ตายอย่างช้าๆ
- 🌹🌹หนังสือที่ต้องอ่าน
- Logistics Vocab
- 🌹🌹สอนใช้ LINE OA.
- 🌺🌺 P&L Family
- 🌺🌺วารีนา(ครูเมย์)
- 🌹🌹 อ่านก่อนสมัคร กดที่นี่
- 🌺 รายละเอียดเพิ่มเติม P&L Family กดที่นี่
- 🌹🌹จิตใต้สำนึก
- 🌹🌹P & L Global lawyer Edit
วันอังคารที่ 12 มกราคม พ.ศ. 2559
บุกจับแชร์ลูกโซ่'ไนน์ท๊อปอัพ' ยึด-อายัดทรัพย์มูลค่า200ล้าน..
ดีเอสไอบุกจับแชร์ลูกโซ่ “ไนน์ท๊อปอัพ” รวบกก.ผจก. หลอกเหยื่อบริสุทธิ์ 2 พันคน เสียหายกว่า 500 ล้านบาท ยึด-อายัดทรัพย์ ทั้งที่ดิน รีสอร์ท รถเบนซ์ และเงินรวม 200 ล้านบาท
มื่อเวลา 13.00 น. วันที่ 12 ม.ค. 2559 พ.ต.ต.สุริยา สิงหกมล ผบ.สำนักคดีอาญาพิเศษ 1 กรมสอบสวนคดีพิเศษ (ดีเอสไอ) นำหมายค้นและหมายจับของศาลอาญาเข้าตรวจค้นพร้อมจับกุม นายมนตรี หรือ จอมพงษ์ มณีวงศ์ กรรมการผู้จัดการบริษัท ไนน์ท๊อปอัพ จำกัด ดำเนินธุรกิจร่วมลงทุนซื้อโปรแกรมคอมพิวเตอร์ระบบเคาน์เตอร์เซอร์วิส รับชำระค่าบริการทุกประเภท และขายสินค้าออนไลน์ มานาน 2 ปี โดยจับกุมได้ที่อาคารพาณิชย์ เลขที่ 19/68-69 อ.คลองหลวง จ.ปทุมธานี พร้อมแจ้งข้อหา ฉ้อโกงประชาชน เนื่องจากการทำธุรกิจเข้าข่ายแชร์ลูกโซ่ โดยการดำเนินการของบริษัทนี้ ได้ชักชวนให้ซื้อหน่วยลงทุน หรือ อาร์พี (RP) หากสามารถเพิ่มผู้ร่วมลงทุนได้จนกระดานแตก ผู้ลงทุนคนเก่าจะได้ผลประโยชน์ตอบแทนร้อยละ 10 โดยเปิดให้ลงทุนหน่วยละ 1,500-12,500 บาท ในช่วงเดือน ม.ค.–มี.ค. 58 มีกระดานแตกรวม 43 รอบ จึงจูงใจให้สมาชิกทั้งใหม่และเก่านำเงินมาร่วมลงทุนมากขึ้น พร้อมจูงใจว่าเป็นกิจการที่มีผลตอบแทนดี แจกรถเบนซ์ให้สมาชิก ที่ทำยอดได้ตามเป้าไปแล้ว 20 คัน กระทั่งเดือนส.ค.58 เกิดปัญหาบริษัทที่เช่าอยู่บริเวณอาคารพญาไท พลาซ่า ซึ่งหยุดกิจการไปแล้ว ทำให้มีผู้เสียหายเข้าร้องทุกข์กับดีเอสไอ โดยระบุว่ามีผู้เสียหายสูญเงิน รายละ 4 แสนบาท มีประมาณ 2,000 ราย รวมมูลค่าความเสียหาย 500 ล้านบาท
พ.ต.ต.สุริยา กล่าวว่า หลังรวบรวมหลักฐาน 3 เดือน ดีเอสไอได้ขออนุมัติหมายจับ พร้อมยึดอายัดทรัพย์สินกรรมการผู้จัดการบริษัทรวม 4 ราย ที่ถูกหมายจับ คือ นายมนตรี นายสิทธิไกร ตลับนาค นายไตรทศ สื่อจินดาภรณ์ และนายธรรมรัตน์ มงคลบวรรัตน์ ซึ่งมีการติดต่อขอเข้ามอบตัวแล้ว โดยทรัพย์สินที่ยึดได้มีมูลค่ารวม 200 ล้านบาท ประกอบด้วยที่ดิน อ.วังสมบูรณ์ จ.สระแก้ว รีสอร์ทที่ อ.วังม่วง จ.ลพบุรี เงินในบัญชี และรถเบนซ์ ที่บริษัทให้สมาชิก 20 คัน สำหรับกรรมการบริษัทไนน์ท๊อปอัพฯ ทั้งหมด ล่าสุด แยกตัวมาเปิดบริษัทใหม่ชื่อ บริษัท ออริจินัล เนตเวิร์ค ซึ่งประกอบกิจการในลักษณะเดียวกัน โดยระบุว่า บริษัทใหม่ได้รับอนุญาตจากสำนักงานคุ้มครองผู้บริโภค (สคบ.) แล้ว และอยู่ระหว่างขอเพิ่มเติมสินค้า หลังจากนี้ดีเอสไอจะจับตาว่าแผนการตลาดบริษัทใหม่ดำเนินกิจการตามแผนที่ได้รับอนุญาตหรือไม่ หากไม่เป็นไปตามแผนก็อาจเข้าข่ายความผิดแชร์ลูกโซ่ โดยขอเตือนไปยังผู้ที่จะร่วมลงทุนให้ระมัดระวังด้วย
ผบ.สำนักคดีอาญาพิเศษ 1 กล่าวต่อว่า แม้ว่าบริษัทไนน์ท๊อปอัพ และบริษัท ออริจินัลฯ จะได้รับอนุญาตจากสำนักงานคุ้มครองผู้บริโภค(สคบ.) แต่แผนการตลาดที่มีลักษณะระดมสมาชิกให้เข้ามาซื้อหน่วยลงทุนเข้าข่ายผิดตาม พ.ร.บ.กู้ยืมเงิน เป็นแชร์ลูกโซ่ เนื่องจากคำนวณผลตอบแทนตามแผนการตลาด จะพบว่าสามารถจ่ายปันผลได้สูงสุดถึง 200% ซึ่งเป็นอัตราที่สูงเกินจริง โดยสมาชิกบริษัทไนน์ท๊อปอัพ มีสมาชิก 40,000 ราย โอนย้ายมาบริษัท ออริจินัล 30,000 ราย ส่วนที่เหลือได้เข้าแจ้งความกับดีเอสไอแล้ว
ด้านนายมนตรี กล่าวว่า ยอมรับว่าบริษัทเดิม มีปัญหาการบริหารภายใน ทำให้ไม่สามารถเข้าระบบได้ จึงได้เปิดบริษัทใหม่เพื่อโอนสมาชิกเดิมมายังบริษัทใหม่ หรือเรียกว่า เป็นการคืนสิทธิให้สมาชิก โดยไม่คิดค่าใช้จ่าย ทั้งนี้ยืนยันว่าบริษัทดำเนินธุรกิจขายแฟรนไชส์ โปรแกรมคอมพิวเตอร์ระบบเคาน์เตอร์เซอร์วิส ไม่ใช่แชร์ลูกโซ่ แต่มีกำหนดปันผลคล้ายสหกรณ์ ผลตอบแทนขึ้นอยู่กับผลประกอบการของสมาชิกแต่ละราย ซึ่งจะได้ปันผลตั้งแต่ 1-100% กำไรที่นำมาปันผลให้สมาชิกมาจากส่วนต่างค่าชำระบิล บิลละ 3 บาท ส่วนรถเบนซ์ยืนยันว่าบริษัทไม่ได้แจก แต่เป็นการทำพิธีมอบรถเบนซ์ให้กับสมาชิกที่ทำยอดจนสามารถมีรายได้ไปซื้อรถเบนซ์ได้ ขณะนี้บริษัทใหม่อยู่ระหว่างดำเนินการตกแต่งอาคารที่เช่าไว้ โดยยังไม่มีการเริ่มจ่ายปันผลใดๆ ให้สมาชิก.... อ่านต่อที่ : http://www.dailynews.co.th/crime/372726
วันเสาร์ที่ 2 มกราคม พ.ศ. 2559
แอพ Payall ของฟิล์ม รัฐภูมิ ดีมั้ย
ลองพิจารณา ธุรกิจ payall ของ ฟิมล์ รัฐภูมิ โตคงทรัพย์ โดยข้อสงสัย
แบ่งเป็นข้อ ๆ นะคะ
1. ฟิล์ม รัฐภูมิ , อ.สมคิด ลวางกูร , (หน่อง) ธนาเดช 3 บุคคลนี้ เคย เป็นผู้บริหาร กับ topup2rich ที่โดนฟ้อง แชร์ลูกโซ่ไป แต่ทำไมถึงไม่โดนดำเนินคดี แล้วมา ทำงานกับ บริษัท payall ต่อ พร้อมยัง ชักชวนคนอีกเป็นจำนวนมาก (ขอถามผู้มีความรู้ ค่ะ ทำไมบุคคลพวกนี้ถึงไม่โดนดำเนินคดี อันนี้เราไม่มีความรู้ทางด้านกฎหมายตรงนี้ค่ะ หรือว่าข้อกฎหมายมีช่องโหว่ ให้บุคคลพวกนี้เล็ดลอดมาได้คะ)
ลิ้ง ของ ฟิล์ม ตอนเซ็นสัญญา กับ topup2rich https://www.youtube.com/watch?v=C38kd7Ep4wI
ลิ้ง ของ หน่องธนาเดช ตอนอยู่ topup2rich https://www.youtube.com/watch?v=_eYElX65qqI
ลิ้ง ของ อ.สมคิด ตอนจับมือกับ topup2rich https://www.youtube.com/watch?v=Ba3A5j0oMv0
2. ลักษณะการทำธุรกิจของ payall คือ จะให้ชวน คนต่อๆไป โดยมีค่าสมัคร 3200 บาท ค่ะ โดยอ้างว่า เป็นค่า สมัครเพื่อใช้บริการระบบ แต่ในจำนวนเงินนี้ ได้แบ่งเป็นค่าคอมมิชชั่น ให้แก่ผู้แนะนำ และ กินกันเป็นทอดๆ
3. ทางบริษัท มีการโฆษณาเรื่องจำนวน รายได้ ที่มากเกินความเป็นไปได้ (สูงสุดถึงวันละ 2 ล้านบาทเน้นย้ำ วันละ นะคะ)
และช่วงนี้ประชาชน เริ่มมีการชักชวน กันอย่างแพร่หลาย จึงสงสัยว่า payall ใช่ แชร์ลูกโซ่หรือไม่ เพราะ รายได้ของบริษัท ที่บอกว่ามาจากการใช้จ่ายนั้น เป็นเพียงจำนวนเงินที่ไม่มากนัก แต่กลับสวนทางกับ รายได้ ในแต่ละเดือนของผู้ที่แนะนำ หรือ ชักชวน ประชาชนค่ะ ทั้งนี้ ฟิลม์ รัฐภูมิ ที่เป็นดารา ซึ่งเป็นที่รู้จักในสังคม และ เป็นที่รู้จักในวงกว้าง จึงอาจใช้จุดนี้เพื่อสร้างความมั่นใจ และ ไว้ใจ แก่ประชาชน มิหนำซ้ำยังยืนยันด้วย ใบรับรองจาก สคบ. และ DSI เนื้อหาจจากลิ้งนี้ ค่ะ http://payallapplications.blogspot.com/2016/02/payall.html
อันนี้ลิ้งข่าวที่ สคบ. เล็ง Payall
http://www.nakkhai.com/index.php?option=com_content&view=article&id=554:2016-09-15-07-29-38&catid=32:network-content&Itemid=60
กระทู้นี้มี ความคิดเห็นจาก สมาชิกพันธ์ คนอื่น ๆด้วยค่ะ
http://pantip.com/topic/34690552
1. ฟิล์ม รัฐภูมิ , อ.สมคิด ลวางกูร , (หน่อง) ธนาเดช 3 บุคคลนี้ เคย เป็นผู้บริหาร กับ topup2rich ที่โดนฟ้อง แชร์ลูกโซ่ไป แต่ทำไมถึงไม่โดนดำเนินคดี แล้วมา ทำงานกับ บริษัท payall ต่อ พร้อมยัง ชักชวนคนอีกเป็นจำนวนมาก (ขอถามผู้มีความรู้ ค่ะ ทำไมบุคคลพวกนี้ถึงไม่โดนดำเนินคดี อันนี้เราไม่มีความรู้ทางด้านกฎหมายตรงนี้ค่ะ หรือว่าข้อกฎหมายมีช่องโหว่ ให้บุคคลพวกนี้เล็ดลอดมาได้คะ)
ลิ้ง ของ ฟิล์ม ตอนเซ็นสัญญา กับ topup2rich https://www.youtube.com/watch?v=C38kd7Ep4wI
ลิ้ง ของ หน่องธนาเดช ตอนอยู่ topup2rich https://www.youtube.com/watch?v=_eYElX65qqI
ลิ้ง ของ อ.สมคิด ตอนจับมือกับ topup2rich https://www.youtube.com/watch?v=Ba3A5j0oMv0
2. ลักษณะการทำธุรกิจของ payall คือ จะให้ชวน คนต่อๆไป โดยมีค่าสมัคร 3200 บาท ค่ะ โดยอ้างว่า เป็นค่า สมัครเพื่อใช้บริการระบบ แต่ในจำนวนเงินนี้ ได้แบ่งเป็นค่าคอมมิชชั่น ให้แก่ผู้แนะนำ และ กินกันเป็นทอดๆ
3. ทางบริษัท มีการโฆษณาเรื่องจำนวน รายได้ ที่มากเกินความเป็นไปได้ (สูงสุดถึงวันละ 2 ล้านบาทเน้นย้ำ วันละ นะคะ)
และช่วงนี้ประชาชน เริ่มมีการชักชวน กันอย่างแพร่หลาย จึงสงสัยว่า payall ใช่ แชร์ลูกโซ่หรือไม่ เพราะ รายได้ของบริษัท ที่บอกว่ามาจากการใช้จ่ายนั้น เป็นเพียงจำนวนเงินที่ไม่มากนัก แต่กลับสวนทางกับ รายได้ ในแต่ละเดือนของผู้ที่แนะนำ หรือ ชักชวน ประชาชนค่ะ ทั้งนี้ ฟิลม์ รัฐภูมิ ที่เป็นดารา ซึ่งเป็นที่รู้จักในสังคม และ เป็นที่รู้จักในวงกว้าง จึงอาจใช้จุดนี้เพื่อสร้างความมั่นใจ และ ไว้ใจ แก่ประชาชน มิหนำซ้ำยังยืนยันด้วย ใบรับรองจาก สคบ. และ DSI เนื้อหาจจากลิ้งนี้ ค่ะ http://payallapplications.blogspot.com/2016/02/payall.html
อันนี้ลิ้งข่าวที่ สคบ. เล็ง Payall
http://www.nakkhai.com/index.php?option=com_content&view=article&id=554:2016-09-15-07-29-38&catid=32:network-content&Itemid=60
กระทู้นี้มี ความคิดเห็นจาก สมาชิกพันธ์ คนอื่น ๆด้วยค่ะ
http://pantip.com/topic/34690552
================================================
ฟิล์ม กับ Pay All
ฟิล์ม หรือ รัฐภูมิ โตคงทรัพย์ ดาราและนักร้องชื่อดัง กลับมาเป็นข่าวใหญ่อีกครั้ง เมื่อศาลอาญาพิพากษาว่า ฟิล์มมีความผิด ต้องได้รับโทษอาญาจากการประกอบธุรกิจแอพพลิเคชั่น (Application) Pay All ที่ช่วยอำนวยความสะดวกในการใช้จ่ายทุกด้าน ไม่ว่าจะเป็นรายจ่ายด้านการศึกษา การคมนาคม ค่าเดินทาง ค่าขนส่งต่าง ๆ ค่าอินเทอร์เน็ต ค่าโทรศัพท์ บัตรเครดิต บัตรเงินสด ประกันภัย ประกันชีวิต และอื่น ๆ อีกมากมาย ที่สำคัญการใช้จ่ายนั้น ๆ ไม่ได้เสียเปล่า แต่สามารถเปลี่ยนเป็นรายได้กลับคืนมาสู่ผู้ใช้บริการด้วย และหากใครสมัครสมาชิก VIP จะมีค่าสมัครปีละ 4,900 บาท โดยจะมีแต้ม (Point) สะสมทุกการใช้จ่าย
คดีนี้ ธนาคารแห่งประเทศไทย (ธปท.) ซึ่งมีหน้าที่กำกับดูแลธุรกิจบริการการชำระเงินทางอิเล็กทรอนิกส์ (E-Payment) ได้แจ้งความร้องทุกข์เอาผิดกับบริษัท ที่ฟิล์มเป็นประธานบริหาร ฐานให้บริการเงินอิเล็กทรอนิกส์ (E-Money) ด้วยการเติมเงินล่วงหน้าและนำไปใช้ชำระค่าสินค้าและบริการโดยไม่ได้รับอนุญาต ตามพระราชบัญญัติว่าด้วยธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์ พ.ศ. 2544 ประกอบพระราชกฤษฎีกา ว่าด้วยการควบคุมดูแลธุรกิจบริการการชำระเงินทางอิเล็กทรอนิกส์ พ.ศ. 2551 และประกาศของคณะปฏิวัติฉบับที่ 58 ประกอบประกาศกระทรวงการคลัง เรื่อง กิจการที่ต้องขออนุญาตตามข้อ 5 แห่งประกาศของคณะปฏิวัติฉบับที่ 58 (การประกอบธุรกิจบัตรเงินอิเล็กทรอนิกส์)
การให้บริการเงินอิเล็กทรอนิกส์ (E-Money) ผ่าน Pay All ที่ได้ยื่นขออนุญาตต่อ ธปท. เป็นการยื่นผิดประเภท ทาง ธปท. จึงได้แจ้งให้ดำเนินการยื่นขออนุญาตใหม่แต่ไม่ดำเนินการ ก่อนจะพบว่า บริษัทนี้ได้ดำเนินธุรกิจไปก่อนได้รับอนุญาต
นอกจากนี้ยังมีความผิดตามพระราชบัญญัติขายตรงและตลาดแบบตรง พ.ศ. 2545 เพราะตอนยื่นจดทะเบียนไว้กับสำนักงานคณะกรรมการคุ้มครองผู้บริโภค (สคบ.) เป็นบริษัทขายตรง แต่ได้ดำเนินธุรกิจผิดจากแบบที่แจ้งไว้ จึงถูกทาง สคบ. ดำเนินคดีและเปรียบเทียบปรับ
บริษัทที่ประกอบธุรกิจ Pay All มีทุนจดทะเบียนเพียง 10 ล้านบาท ประกอบธุรกิจให้บริการเงินอิเล็กทรอนิกส์ (E-Money) แต่ตามหลักเกณฑ์การให้บริการเงินอิเล็กทรอนิกส์ (E-Money) ของ ธปท. ต้องมีทุนจดทะเบียนที่ชำระแล้ว 200 ล้านบาท ต้องแยกบัญชีเงินลูกค้ากับบัญชีเงินของบริษัท และต้องชี้แจงโครงสร้างองค์กรและแผนธุรกิจชัดเจนในระยะ 3 ปี เป็นต้น
สำหรับลูกค้าและผู้ที่เคยชำระค่าสินค้าผ่าน Pay All จะพบว่าสินค้าที่ร่วมรายการจะมีราคาถูกกว่าตามที่ขายในห้างสรรพสินค้า เมื่อจ่ายค่าบริการผ่าน Pay All ซึ่งสามารถชำระได้ตลอดเวลา ผู้ให้บริการจะหักค่าบริการไว้เพียง 5 บาท / ใบเรียกเก็บ 1 ใบ และจะมีแต้มสะสม (Point) เพื่อเอามาแลกเงิน การชวนเพื่อนมาสมัครเป็นสมาชิกจะมีค่าแนะนำสมาชิกให้ ซึ่งการให้บริการแบบนี้เคยมีคนทำธุรกิจก่อนแล้วเช่นกัน เพียงแต่ไม่ได้ทำผ่านแอปพลิเคชั่นแบบ Pay All และจะใกล้เคียงกับแชร์ลูกโซ่ที่มีการแนะนำสมาชิกไปเรื่อยๆ คนที่หาสมาชิกได้มากจะอยู่ในลำดับสูง และจะมีเงินได้จากการแนะนำสมาชิกของคนที่อยู่ลำดับล่างๆ
หากเปรียบเทียบการให้บริการของ Pay All กับการให้บริการเงินอิเล็กทรอนิกส์ (E-Money) จะคล้ายกับรูปแบบอื่นที่มีอยู่แล้ว เช่น เคาน์เตอร์เซอร์วิส ซึ่งให้บริการอยู่ในเซเว่นอีเลฟเว่นทุกสาขา สามารถชำระค่าสินค้าได้เกือบทุกประเภท หรือการให้บริการอินเตอร์เน็ตแบงก์กิ้งที่สามารถทำธุรกรรมทางการเงินได้ตลอด 24 ชั่วโมง
ปัจจุบันการใช้จ่ายชำระค่าสินค้า หรือการทำธุรกรรมทางการเงิน ผู้ใช้บริการต้องการความสะดวกสบายมากขึ้น แอปพลิเคชั่น Pay All ได้ช่วยอำนวยความสะดวกในการใช้จ่ายทุกด้าน แต่ที่เป็นปัญหาเพราะผู้ประกอบกิจการไม่ขออนุญาตให้ถูกต้อง ประกอบกับทุนจดทะเบียนที่กฎหมายกำหนดสูงถึง 200 ล้านบาท ทำให้ต้องเลี่ยงไปจดทะเบียนประเภทอื่น
กฎหมายกำหนดหลักเกณฑ์ควบคุมธุรกิจประเภท Pay All เพราะเมื่อเปิดดำเนินการ ย่อมต้องให้บริการและเกี่ยวข้องกับคนเป็นจำนวนมาก ต้องมีทุนจดทะเบียนสูง เพราะต้องการให้บริษัทหรือผู้ประกอบกิจการมีความมั่นคง ถ้าทุนจดทะเบียนน้อยเกินไป อาจเป็นเหตุให้เลิกกิจการง่ายเกินไป ทำให้ลูกค้าหรือผู้ใช้บริการเดือดร้อนเสียหาย
นอกจากนี้ การที่กฎหมายกำหนดให้ต้องแยกบัญชีเงินลูกค้า กับเงินบัญชีของบริษัท เพื่อสร้างความมั่นใจให้กับลูกค้าหรือผู้ใช้บริการว่า จะมีเงินทุนหมุนเวียน เงินของลูกค้าหรือผู้ใช้บริการจะไม่หายไปไหน และยังเป็นการป้องกันมิให้ผู้ให้บริการใช้เงินผิดประเภท
คดีนี้ ฟิล์มได้รับสารภาพตลอดข้อหา โดยให้เหตุผลเพียงว่า ไม่มีเจตนาและไม่ทราบว่าเป็นการกระทำที่ผิดกฎหมาย ในที่สุด ศาลอาญาได้เมตตาพิพากษาให้ลงโทษจำคุกฟิล์ม 1 ปี ปรับ 100,000 บาท โทษจำคุกให้รอลงอาญา รายงานตัว 1 ปี และบำเพ็ญประโยชน์ 24 ชั่วโมง
แม้ว่า ฟิล์มจะถูกพิพากษาว่า มีความผิดตามกฎหมาย แต่ถือว่า ยังชนะใจคนดูผู้ชม เพราะถือว่า เป็นคนหนุ่มรุ่นใหม่ ไฟแรง ที่อยากจะทำธุรกิจใหม่ ๆ ที่เริ่มต้นใหม่ หรือที่เรียกกันว่า สตาร์ทอัพ (Start Up) เพียงแต่ว่า ต้องอาศัยเวลา บ่มเพาะประสบการณ์ และเรียนรู้มากกว่านี้
ขอเป็นอีกหนึ่งกำลังใจ ให้แก่คนรุ่นใหม่ที่มีความตั้งใจ อย่าท้อแท้ และดำเนินธุรกิจต่อไปในอนาคตจนประสบความสำเร็จ
ที่มา : หนังสือพิมพ์แนวหน้า วันศุกร์ที่ 14 ธันวาคม 2561 (หน้า 7)
วันศุกร์ที่ 1 มกราคม พ.ศ. 2559
มาทำความรู้จัก FinTech กันเถอะ
มีคนเคยให้นิยามของ Fintech ว่าเปรียบเทียบเสมือน R&D (Research and Development) ที่หาคุณสมบัติการให้บริการที่มีลูกค้าเป็นศูนย์กลางในการคิดค้นรูปแบบธุรกิจหรือการคิดค้นผลิตภัณฑ์ใหม่ๆ
ออกสู่ตลาด โดยแบ่งออกเป็น 2 ส่วนใหญ่ๆ คือ
Traditional fintech องค์กรเทคโนโลยีขนาดใหญ่ที่เป็นเสมือน Facilitator สนับสนุนบริการด้านการเงินต่างๆ
Emergent fintech องค์กรขนาดเล็กที่เป็นเสมือน
Disruptor นำเทคโนโลยีใหม่ๆ สร้างนวัตกรรมตัวกลางในการให้บริการด้านการเงิน
ในขณะเดียวกันมีอีกมุมหนึ่งที่นำเสนอโดย Chris Skinner ผู้แต่งหนังสือ “Digital Bank” กล่าวไว้อย่างน่าสนใจคือ เป็นตลาดใหม่อันเกิดจากการเชื่อมกันระหว่างด้านการเงินและเทคโนโลยี เป็นส่วนผสมของกระบวนการดั้งเดิมในเรื่องทางการเงินไม่ว่าจะเป็นในเรื่องของ – เงินทุนหมุนเวียน, Supply Chain, กระบวนการชำระเงิน, การฝาก/ถอน, ประกันชีวิต และอื่นๆ แต่แทนที่จะเป็นโครงสร้างการทำธุรกรรมแบบเดิมก็มีการนำเทคโนโลยีมาปรับใช้เพื่อให้เกิดความสมบูรณ์แบบและสะดวกต่อผู้ใช้งานมากขึ้น
Chris ไม่ได้มองว่า
FinTech เป็นงานในรูปแบบของ R&D ของธุรกิจการเงินหรือรูปแบบ
Tradional FinTech อย่างที่กล่าวไว้ข้างต้นเลย บริษัทเหล่านั้นเช่น
IBM, Unisys, NCR ไม่ใช่กลุ่มของ FinTech แต่เป็น
Bank Technology Service Provider หรือผู้ให้บริการเทคโนโลยีในโลกของธุรกิจการเงินการธนาคารเมื่อศตวรรษที่ผ่านมา
สำหรับเมืองไทยของเรา FinTech ถือเป็นประเด็นร้อนแรงของ Startup ไทยในปีนี้เลยกว่าได้
เนื่องจากมี Startup ให้ความสนใจในสาย FinTech เพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่อง อาทิเช่น Stockradars, Omise เองที่เห็นปัญหาใกล้ตัวโดยอยากจะพัฒนาให้ดียิ่งขึ้นไม่เพียงเท่านั้นยังมีสถาบันการเงินต่างๆ
ที่เริ่มเข้ามาให้การสนับสนุนเพื่อสร้างสรรค์สิ่งใหม่ๆ ให้กับวงการ Startup
อย่างเช่น ธนาคารกรุงศรีอยุธยา กับโครงการ KungsriUni
Startup ที่กำลังจัดขึ้นในตอนนี้ อย่างที่ทราบกันดีเรื่องเงินๆ ทองๆ
เป็นเรื่องที่ควรจัดสรรให้ดีหากเรามีเครื่องมือที่เข้ามาช่วยให้การทำธุรกรรมทางการเงินเป็นเรื่องง่าย
ที่มา : thefinanser
ตัดสินใจลอง(อีกซักตั้ง) กรอกสมัคร เปิดรหัสวันนี้
⤵⤵⤵⤵⤵⤵⤵⤵⤵⤵⤵⤵⤵⤵
https://tinyurl.com/umegoldsignup
ติดต่อสอบถาม :089-707-2874
http://line.me/ti/p/~0800437943
แอดขอรับข้อมูลดีๆ
ติดต่อสอบถาม :089-707-2874
เว็บไซต์ : คลิกที่นี่
แอด Facebook ส่วนตัว (Warina May Punyawan): คลิกเลยค่ะ
Facebook Fanpage: Thai MLM Online
ช่อง Youtube : Thai MLM Online 100%
ติดต่อสอบถาม :089-707-2874
แอด Facebook ส่วนตัว (Warina May Punyawan): คลิกเลยค่ะ
Facebook Fanpage: Thai MLM Online
ช่อง Youtube : Thai MLM Online 100%
ติดต่อสอบถาม :089-707-2874
Line ID : 0800437943
แอดเป็นเพื่อน :http://line.me/ti/p/~0800437943
แอดขอรับข้อมูลดีๆ
จุดแข็ง-จุดอ่อน-เบื้องต้น ของประเทศต่างๆใน AEC ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน
1.ประเทศสิงคโปร์
จุดแข็ง
• รายได้เฉลี่ยต่อคนต่อปีสูงสุด(อันดับที่ 1 )ของอาเซียน และติดอันดับ 15 ของโลก
• การเมืองมีเสถียรภาพ
• เป็นศูนย์กลางทางการเงินระหว่างประเทศ
• แรงงานมีทักษะสูง
• ชำนาญด้านการจัดการทรัพยากรบุคคล และธุรกิจ
• มีที่ตั้งเอื้อต่อการเป็นศูนย์กลางเดินเรือ
จุดอ่อน
• พึ่งพาการนำเข้าวัตถุดิบและขาดแคลนแรงงานระดับล่าง
• ค่าใช้จ่ายในการดำเนินธุรกิจสูง
ประเด็นที่น่าสนใจ
• พยายามขยายโครงสร้างเศรษฐกิจมายังภาคบริการมากขึ้น เพื่อลดการพึ่งพาการส่งออกสินค้า
• รายได้เฉลี่ยต่อคนต่อปีสูงสุด(อันดับที่ 1 )ของอาเซียน และติดอันดับ 15 ของโลก
• การเมืองมีเสถียรภาพ
• เป็นศูนย์กลางทางการเงินระหว่างประเทศ
• แรงงานมีทักษะสูง
• ชำนาญด้านการจัดการทรัพยากรบุคคล และธุรกิจ
• มีที่ตั้งเอื้อต่อการเป็นศูนย์กลางเดินเรือ
จุดอ่อน
• พึ่งพาการนำเข้าวัตถุดิบและขาดแคลนแรงงานระดับล่าง
• ค่าใช้จ่ายในการดำเนินธุรกิจสูง
ประเด็นที่น่าสนใจ
• พยายามขยายโครงสร้างเศรษฐกิจมายังภาคบริการมากขึ้น เพื่อลดการพึ่งพาการส่งออกสินค้า
2.ประเทศอินโดนีเซีย
จุดแข็ง
• ขนาดเศรษฐกิจใหญ่สุดในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้
• ตลาดขนาดใหญ่ (ประชากรมากเป็นอันดับ 4 ของโลก และมากที่สุดในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้)
• มีชาวมุสลิมมากที่สุดในโลก
• มีทรัพยากรธรรมชาติหลากหลายและจำนวนมาก โดยเฉพาะถ่านหิน น้ำมัน ก๊าซธรรมชาติ โลหะต่างๆ
• ระบบธนาคารค่อนข้างแข็งแกร่ง
จุดอ่อน
• ที่ตั้งเป็นเกาะและกระจายตัว
• สาธารณูปโภคพื้นฐานยังไม่พัฒนาเท่าที่ควร โดยเฉพาะการคมนาคม และการเชื่อมโยงระหว่างประเทศ
ประเด็นที่น่าสนใจ
• การลงทุนส่วนใหญ่เน้นใช้ทรัพยากรในประเทศเป็นหลัก
• ขนาดเศรษฐกิจใหญ่สุดในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้
• ตลาดขนาดใหญ่ (ประชากรมากเป็นอันดับ 4 ของโลก และมากที่สุดในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้)
• มีชาวมุสลิมมากที่สุดในโลก
• มีทรัพยากรธรรมชาติหลากหลายและจำนวนมาก โดยเฉพาะถ่านหิน น้ำมัน ก๊าซธรรมชาติ โลหะต่างๆ
• ระบบธนาคารค่อนข้างแข็งแกร่ง
จุดอ่อน
• ที่ตั้งเป็นเกาะและกระจายตัว
• สาธารณูปโภคพื้นฐานยังไม่พัฒนาเท่าที่ควร โดยเฉพาะการคมนาคม และการเชื่อมโยงระหว่างประเทศ
ประเด็นที่น่าสนใจ
• การลงทุนส่วนใหญ่เน้นใช้ทรัพยากรในประเทศเป็นหลัก
3.ประเทศมาเลเซีย
จุดแข็ง
• รายได้เฉลี่ยต่อคนต่อปีอยู่ในอันดับ 3 ของอาเซียน
• มีปริมาณสำรองน้ำมันมากเป็นอันดับ 3 และก๊าซธรรมชาติมากเป็นอันดับ 2 ของเอเชียแปซิฟิก
• ระบบโครงสร้างพื้นฐานครบวงจร
• แรงงานมีทักษะ
จุดอ่อน
• จำนวนประชากรค่อนข้างน้อย ทำให้ขาดแคลนแรงงาน โดยเฉพาะระดับล่าง
ประเด็นที่น่าสนใจ
• ตั้งเป้าหมายเป็น “ประเทศพัฒนาแล้ว” ในปี 2563
• ฐานการผลิตและส่งออกสินค้าสำคัญที่คล้ายคลึงกับไทย
• มีนโยบายพัฒนาการผลิตด้วยเทคโนโลยีขั้นสูงอย่างจริงจัง
• รายได้เฉลี่ยต่อคนต่อปีอยู่ในอันดับ 3 ของอาเซียน
• มีปริมาณสำรองน้ำมันมากเป็นอันดับ 3 และก๊าซธรรมชาติมากเป็นอันดับ 2 ของเอเชียแปซิฟิก
• ระบบโครงสร้างพื้นฐานครบวงจร
• แรงงานมีทักษะ
จุดอ่อน
• จำนวนประชากรค่อนข้างน้อย ทำให้ขาดแคลนแรงงาน โดยเฉพาะระดับล่าง
ประเด็นที่น่าสนใจ
• ตั้งเป้าหมายเป็น “ประเทศพัฒนาแล้ว” ในปี 2563
• ฐานการผลิตและส่งออกสินค้าสำคัญที่คล้ายคลึงกับไทย
• มีนโยบายพัฒนาการผลิตด้วยเทคโนโลยีขั้นสูงอย่างจริงจัง
4.ประเทศบรูไน
จุดแข็ง
• รายได้เฉลี่ยต่อคนต่อปีอยู่ในอันดับ 2 ของอาเซียน และอันดับ 26 ของโลก
• การเมืองค่อนข้างมั่นคง
• เป็นผู้ส่งออกน้ำมัน และมีปริมาณสำรองน้ำมันอันดับ 4 ของอาเซียน
จุดอ่อน
• ตลาดขนาดเล็ก ประชากรประมาณ 4 แสนคน
• ขาดแคลนแรงงาน
ประเด็นที่น่าสนใจ
• มีความสัมพันธ์ทางเศรษฐกิจใกล้ชิดกับสิงคโปร์ มาเลเซีย และอินโดนีเซีย
• การขนส่งสินค้าระหว่างประเทศพึ่งพาสิงคโปร์เป็นหลัก
• ให้ความสำคัญกับความมั่นคงทางอาหารค่อนข้างมาก
• รายได้เฉลี่ยต่อคนต่อปีอยู่ในอันดับ 2 ของอาเซียน และอันดับ 26 ของโลก
• การเมืองค่อนข้างมั่นคง
• เป็นผู้ส่งออกน้ำมัน และมีปริมาณสำรองน้ำมันอันดับ 4 ของอาเซียน
จุดอ่อน
• ตลาดขนาดเล็ก ประชากรประมาณ 4 แสนคน
• ขาดแคลนแรงงาน
ประเด็นที่น่าสนใจ
• มีความสัมพันธ์ทางเศรษฐกิจใกล้ชิดกับสิงคโปร์ มาเลเซีย และอินโดนีเซีย
• การขนส่งสินค้าระหว่างประเทศพึ่งพาสิงคโปร์เป็นหลัก
• ให้ความสำคัญกับความมั่นคงทางอาหารค่อนข้างมาก
5.ประเทศฟิลิปปินส์
จุดแข็ง
• ประชากรจำนวนมากอันดับ 12 ของโลก (>100 ล้านคน)
• แรงงานทั่วไปมีความรู้-สื่อสารภาษาอังกฤษได้
จุดอ่อน
• ที่ตั้งห่างไกลจากประเทศสมาชิกอาเซียน
• ระบบโครงสร้างพื้นฐาน และสวัสดิภาพทางสังคมยังไม่พัฒนาเท่าที่ควร
ประเด็นที่น่าสนใจ
• สหภาพแรงงานมีบทบาทค่อนข้างมาก และมีการเรียกร้องเพิ่มค่าแรงอยู่เสมอ
• การลงทุนส่วนใหญ่เป็นการรองรับความต้องการภายในประเทศเป็นหลัก
• ประชากรจำนวนมากอันดับ 12 ของโลก (>100 ล้านคน)
• แรงงานทั่วไปมีความรู้-สื่อสารภาษาอังกฤษได้
จุดอ่อน
• ที่ตั้งห่างไกลจากประเทศสมาชิกอาเซียน
• ระบบโครงสร้างพื้นฐาน และสวัสดิภาพทางสังคมยังไม่พัฒนาเท่าที่ควร
ประเด็นที่น่าสนใจ
• สหภาพแรงงานมีบทบาทค่อนข้างมาก และมีการเรียกร้องเพิ่มค่าแรงอยู่เสมอ
• การลงทุนส่วนใหญ่เป็นการรองรับความต้องการภายในประเทศเป็นหลัก
6.ประเทศเวียดนาม
จุดแข็ง
• ประชากรจำนวนมากอันดับ 14 ของโลก (90 ล้านคน)
• มีปริมาณสำรองน้ำมันมากเป็นอันดับ 2 ของเอเชียแปซิฟิก
• มีแนวชายฝั่งทะเลยาวกว่า 3,200 กิโลเมตร
• การเมืองมีเสถียรภาพ
• ค่าจ้างแรงงานเกือบต่ำสุดในอาเซียน รองจากกัมพูชา
จุดอ่อน
• ระบบสาธารณูปโภคพื้นฐานยังไม่ได้รับการพัฒนาเท่าที่ควร
• ต้นทุนที่ดินและค่าเช่าสำนักงานค่อนข้างสูง
ประเด็นที่น่าสนใจ
• มีรายได้และความต้องการสูงขึ้นจากเศรษฐกิจที่โตเร็ว
• ประชากรจำนวนมากอันดับ 14 ของโลก (90 ล้านคน)
• มีปริมาณสำรองน้ำมันมากเป็นอันดับ 2 ของเอเชียแปซิฟิก
• มีแนวชายฝั่งทะเลยาวกว่า 3,200 กิโลเมตร
• การเมืองมีเสถียรภาพ
• ค่าจ้างแรงงานเกือบต่ำสุดในอาเซียน รองจากกัมพูชา
จุดอ่อน
• ระบบสาธารณูปโภคพื้นฐานยังไม่ได้รับการพัฒนาเท่าที่ควร
• ต้นทุนที่ดินและค่าเช่าสำนักงานค่อนข้างสูง
ประเด็นที่น่าสนใจ
• มีรายได้และความต้องการสูงขึ้นจากเศรษฐกิจที่โตเร็ว
7.ประเทศกัมพูชา
จุดแข็ง
• มีทรัพยากรธรรมชาติหลากหลายและอุดมสมบูรณ์ โดยเฉพาะน้ำ ป่าไม้ และแร่ชนิดต่างๆ
• ค่าจ้างแรงงานต่ำสุดในอาเซียน (1.6 USDหรือ 56 บาท/day)
จุดอ่อน
• ระบบสาธารณูปโภคพื้นฐานยังไม่พัฒนาเท่าที่ควร
• ต้นทุนสาธารณูปโภค (น้ำ ไฟฟ้า และการสื่อสาร) ค่อนข้างสูง
• ขาดแคลนแรงงานมีทักษะ
ประเด็นที่น่าสนใจ
• ประเด็นขัดแย้งระหว่างไทย-กัมพูชาอาจบั่นทอนโอกาสการขยายการค้า-การลงทุนระหว่างกันในอนาคตได้
• มีทรัพยากรธรรมชาติหลากหลายและอุดมสมบูรณ์ โดยเฉพาะน้ำ ป่าไม้ และแร่ชนิดต่างๆ
• ค่าจ้างแรงงานต่ำสุดในอาเซียน (1.6 USDหรือ 56 บาท/day)
จุดอ่อน
• ระบบสาธารณูปโภคพื้นฐานยังไม่พัฒนาเท่าที่ควร
• ต้นทุนสาธารณูปโภค (น้ำ ไฟฟ้า และการสื่อสาร) ค่อนข้างสูง
• ขาดแคลนแรงงานมีทักษะ
ประเด็นที่น่าสนใจ
• ประเด็นขัดแย้งระหว่างไทย-กัมพูชาอาจบั่นทอนโอกาสการขยายการค้า-การลงทุนระหว่างกันในอนาคตได้
8.ประเทศลาว
จุดแข็ง
• มีทรัพยากรธรรมชาติหลากหลายและอุดมสมบูรณ์ โดยเฉพาะน้ำและแร่ชนิดต่างๆ
• การเมืองมีเสถียรภาพ
• ค่าจ้างแรงงานค่อนข้างต่ำ (2.06 USDหรือ 72 บาท /day)
จุดอ่อน
• ระบบสาธารณูปโภคพื้นฐานยังไม่พัฒนาเท่าที่ควร
• พื้นที่ส่วนใหญ่เป็นที่ราบสูงและภูเขา การคมนาคมไม่สะดวก ไม่มีทางออกสู่ทะเล
ประเด็นที่น่าสนใจ
• การลงทุนส่วนใหญ่อยู่ในกลุ่มโครงสร้างพื้นฐาน พลังงานน้ำ และเหมืองแร่
• มีทรัพยากรธรรมชาติหลากหลายและอุดมสมบูรณ์ โดยเฉพาะน้ำและแร่ชนิดต่างๆ
• การเมืองมีเสถียรภาพ
• ค่าจ้างแรงงานค่อนข้างต่ำ (2.06 USDหรือ 72 บาท /day)
จุดอ่อน
• ระบบสาธารณูปโภคพื้นฐานยังไม่พัฒนาเท่าที่ควร
• พื้นที่ส่วนใหญ่เป็นที่ราบสูงและภูเขา การคมนาคมไม่สะดวก ไม่มีทางออกสู่ทะเล
ประเด็นที่น่าสนใจ
• การลงทุนส่วนใหญ่อยู่ในกลุ่มโครงสร้างพื้นฐาน พลังงานน้ำ และเหมืองแร่
9.ประเทศพม่า
จุดแข็ง
• มีทรัพยากรธรรมชาติ น้ำมันและก๊าซธรรมชาติจำนวนมาก
• มีพรมแดนเชื่อมโยงจีนและอินเดีย
• ค่าจ้างแรงงานค่อนข้างต่ำ (2.5 USDหรือ 88 บาท /day)
จุดอ่อน
• ระบบสาธารณูปโภคพื้นฐานยังไม่พัฒนาเท่าที่ควร
• ความไม่แน่นอนทางการเมือง และนโยบาย
ประเด็นที่น่าสนใจ
• การพัฒนาโครงข่ายคมนาคมในประเทศเชิงรุก ทั้งทางถนน รถไฟความเร็วสูง และท่าเรือ
• มีทรัพยากรธรรมชาติ น้ำมันและก๊าซธรรมชาติจำนวนมาก
• มีพรมแดนเชื่อมโยงจีนและอินเดีย
• ค่าจ้างแรงงานค่อนข้างต่ำ (2.5 USDหรือ 88 บาท /day)
จุดอ่อน
• ระบบสาธารณูปโภคพื้นฐานยังไม่พัฒนาเท่าที่ควร
• ความไม่แน่นอนทางการเมือง และนโยบาย
ประเด็นที่น่าสนใจ
• การพัฒนาโครงข่ายคมนาคมในประเทศเชิงรุก ทั้งทางถนน รถไฟความเร็วสูง และท่าเรือ
10.ประเทศไทย
จุดแข็ง
• เป็นฐานการผลิตสินค้าอุตสาหกรรมและสินค้าเกษตรหลายรายการ รายใหญ่ของโลก
• ที่ตั้งเอื้อต่อการเป็นศูนย์กลางโครงข่ายเชื่อมโยงคมนาคมด้านต่างๆ
• สาธารณูปโภคพื้นฐานทั่วถึง
• ระบบธนาคารค่อนข้างเข้มแข็ง
• แรงงานจำนวนมาก
จุดอ่อน
• แรงงานส่วนใหญ่ยังขาดทักษะ
• เทคโนโลยีการผลิตส่วนใหญ่ยังเป็นขั้นกลาง
•การเมืองไม่มั่นคง
ประเด็นที่น่าสนใจ ( ข้อมูลตามแผนปรับตัวสู่ AEC ปี 53-54 )
• ตั้งเป้าเป็นศูนย์กลางอาเซียนในหลายด้าน อาทิ ศูนย์กลางโลจิสติกส์ และศูนย์กลางการท่องเที่ยว
• ดำเนินงานตามแผนปรับตัวสู่ AEC ปี 53-54 ได้ 64% สูงกว่าเกณฑ์เฉลี่ยของอาเซียนที่ 53% สะท้อนการเตรียมพร้อมอย่างจริงจัง
(ข้อมูลล่าสุด ยังไม่อัพเดท)
• เป็นฐานการผลิตสินค้าอุตสาหกรรมและสินค้าเกษตรหลายรายการ รายใหญ่ของโลก
• ที่ตั้งเอื้อต่อการเป็นศูนย์กลางโครงข่ายเชื่อมโยงคมนาคมด้านต่างๆ
• สาธารณูปโภคพื้นฐานทั่วถึง
• ระบบธนาคารค่อนข้างเข้มแข็ง
• แรงงานจำนวนมาก
จุดอ่อน
• แรงงานส่วนใหญ่ยังขาดทักษะ
• เทคโนโลยีการผลิตส่วนใหญ่ยังเป็นขั้นกลาง
•การเมืองไม่มั่นคง
ประเด็นที่น่าสนใจ ( ข้อมูลตามแผนปรับตัวสู่ AEC ปี 53-54 )
• ตั้งเป้าเป็นศูนย์กลางอาเซียนในหลายด้าน อาทิ ศูนย์กลางโลจิสติกส์ และศูนย์กลางการท่องเที่ยว
• ดำเนินงานตามแผนปรับตัวสู่ AEC ปี 53-54 ได้ 64% สูงกว่าเกณฑ์เฉลี่ยของอาเซียนที่ 53% สะท้อนการเตรียมพร้อมอย่างจริงจัง
CLICKBAIT ล่อให้คลิก ปั่นเว็บจนรุ่ง
"รู้แล้วต้องช็อก"
"อุทาหรณ์ ที่คุณต้องซึ้งเมื่อรู้ว่า..."
"เตือนภัย xxx ที่คุณต้องทึ่งว่าทำได้ไง"
"ชายคนนี้นอกใจเมีย แต่เมื่อคุณรู้เหตุผลแล้วต้องให้อภัย"
"เมื่อรู้ว่าสามีมีชู้ นี่คือสิ่งที่ผู้หญิงคนนี้ทำ"
ประโยคเหล่านี้ล้วนแล้วแต่เป็นข้อความที่เว็บไซต์ที่ใช้คำว่าสำนักข่าวต่างก็พยายามใช้เพื่อเรียกความสนใจจากผู้อ่านจนเป็นที่มาของการคลิกเข้าไปอ่าน เว็บไซต์หรือการตั้งพาดหัวในลักษณะนี้เรียกว่า Clickbait หลอกล่อให้คนคลิกเข้าไปอ่านบทความต่อในเว็บไซต์ ตามคำแปลของ Bait ที่แปลว่า เหยื่อ, ใส่เหยื่อเพื่อตกปลา หรือใช้วิธี Upworthy Title ตั้งชื่อเรื่องให้โอเวอร์เกินจริงไปมากๆ แต่วิธีการนี้เองที่ส่งผลให้เกิดปรากฏการณ์ที่น่าสนใจในวงการคนทำเว็บไซต์ต้องใส่ใจกับปรากฏการณ์นี้ เพราะเมษายนที่ผ่านมานี้เองเว็บไซต์ที่มีคนเข้าอันดับ 1 ของประเทศไทย ตามรายงานของ Truehits
http://truehits.net/
(ศูนย์วิจัยนวัตกรรมอินเทอร์เน็ตไทย) ไม่ใช่ Sanook, Kapook, Dek-D หรือแม้แต่ Pantip อีกแล้ว แต่กลับเป็นเว็บไซต์ที่มีชื่อว่า Ohozaa ซึ่งอันดับของเว็บไซต์แห่งนี้ไต่ขึ้นมาเรื่อยๆ จากเดือนมีนาคมอยู่ที่ 2
แจ้งเกิดเพราะโซเชียลมีเดีย
ไม่ถึงกับขนาดต้องวิเคราะห์เชิงลึกอะไร เอาแค่พฤติกรรมที่เห็นกันอยู่ทุกวันนี้เมื่อเราเข้าเฟซบุ๊ก หรือแม้แต่อยู่ในไลน์ กรุ๊ป คุณก็จะได้เห็นการแชร์ข่าวจากเว็บไซต์เหล่านี้ ยิ่งพอเข้าไปดูสถิติที่น่าสนใจต่อจะพบว่า เหตุผลที่เว็บไซต์เหล่านี้มีผู้คนรู้จักมากมายก็เพราะ Social Referral Traffic มากกว่า 80% ของผู้ที่เข้าเว็บไซต์ Ohozaa มาจากโซเชียลเน็ตเวิร์ก ขณะที่ Web Referral กับ Direct Traffic หรือการที่มีเว็บไซต์อื่นอ้างอิงถึง กับการที่ผู้ใช้งานเข้าสู่เว็บไซต์โดยตรงมีเลขไม่ถึงหลักเดียว (Direct Traffic อาจจะเป็นข้อมูลที่ไม่ตรงนัก เพราะบางครั้งต่อให้เราจำได้ว่าจะเข้า Facebook แต่เรายังไปพิมพ์ใน Google ก่อน แล้วค่อยคลิกต่ออีกที) แต่เมื่อเทียบกับตัวเลขของเว็บไซต์ Portal แบบดั้งเดิมแล้ว เว็บไซต์กลุ่มนั้นก็มีจำนวนที่เว็บไซต์อื่นๆ อ้างอิงถึง หรือมีแฟนพันธุ์แท้ที่เข้าไปโดยตรงมากกว่า อาจจะเป็นเพราะว่าเมื่อเทียบในแง่ของคุณภาพคอนเทนต์ เว็บไซต์ Dek-D ได้คะแนนสูงสุดที่ 4.4 จากคะแนะนเต็ม10 ส่วน Sanook 4.1 ส่วน Kapook 3.4 ขณะที่ Ohozaa ที่เรากำลังพูดถึงอยู่นี่ได้คะแนน 1.7 (Content Rating เป็นค่าที่ประเมินความน่าสนใจของเนื้อหาในเว็บไซต์ โดยพิจารณา จากพฤติกรรมการใช้งานของผู้เข้าชม เป็นค่าที่อยู่ระหว่าง 0-10 ซึ่งจะคำนวณจาก Average Visit Time, Visit Depth และ Exit Rate) นั่นแปลว่าเว็บไซต์สามารถสร้างพฤติกรรมให้ผู้อ่านเข้าไปเว็บไซต์ได้ก็จริง แต่เมื่ออ่านจบแล้วก็ปิดทันที ไม่อยู่นาน ไม่คลิกอ่านที่ลิงก์บทความอื่นๆ ต่อ
สิ่งนี้สะท้อนพฤติกรรมการเข้าเว็บไซต์ว่ามาจากโซเชียลเน็ตเวิร์ก แทนที่จะเป็นการเสิร์ชคำแบบดั้งเดิม ที่ต้องมีคำยอดฮิตประเภท ดูดวง, หวย, เกม, ฟังเพลง แต่ปรากฏการณ์นี้สะท้อนให้เห็นแล้วว่า สำหรับคนทำเว็บไซต์โซเชียลมีเดียมาแรงกว่า SEO ซะแล้ว
แค่มีคนเข้า มีคนคลิกก็ได้ตังค์
เว็บไซต์สไตล์ Clickbait นี้ไม่ได้มีแค่รายเดียว แต่ต้องบอกว่าผุดขึ้นมามากมาย Thaiza, Catdumb, Meekao, Petmaya, Boxza ฯลฯ นั่นก็เพระาแหล่งรายได้ที่มาจากการติดแบนเนอร์แบบเครือข่ายโฆษณา ซึ่งบางเจ้าอาศัยเพียงแค่จำนวนผู้ที่เห็นแบนเนอร์เจ้าของเว็บไซต์ก็ได้เงินแล้ว หรือบางเครือข่ายจ่ายเงินต่อเมื่อมีคนคลิกโฆษณา แต่ทั้งหมดนี้เป้าหมายที่เจ้าของเว็บไซต์ต้องทำก็คือ กวาดต้อนคนให้เข้าสู่เว็บไซต์ให้ได้มากที่สุด ซึ่งการคำนวณ RPM ซึ่งเป็นสูตรคร่าวๆ ที่ช่วยคำนวณรายได้จากการเข้าเว็บไซต์มีอยู่ว่า RPM = (รายได้โดยประมาณ / จำนวนครั้งของการดูหน้าเว็บ) * 1000 เช่น ถ้าเว็บไซต์ของสามารถสร้างรายได้ 0.15 เหรียญ จากการดูหน้าเว็บ 25 ครั้ง ดังนั้น RPM ของหน้าเว็บของคุณจะเท่ากับ (0.15 / 25) * 1000 หรือเท่ากับ 6.00 เหรียญ ดังนั้นถ้าหากว่าเจ้าของเว็บไซต์อยากได้รายได้ที่เพิ่มมากขึ้นก็ต้องทำให้มีผู้อ่านเข้าสู่เว็บไซต์ต่อวันให้ได้มากที่สุด นี่เองเมื่อเราเข้าเว็บไซต์เหล่านี้ ถึงเจอแบนเนอร์หน้าตาแปลกๆ วิบๆ วับๆ เต็มหน้าจอไปหมด ส่วนดีไซน์ของเว็บไซต์ก็จะอัดจำนวนคอนเทนท์ให้ได้มากที่สุด พร้อมๆ กับการที่มีตำแหน่งแบนเนอร์มากมายเป็นรายได้สำคัญ สูตรการคำนวณรายได้จากเว็บไซต์ https://support.google.com/adsense/answer/190515?hl=th
ขณะที่เว็บไซต์ Portal ใช้วิธีการสร้างรายได้จากการขายแบนเนอร์ ดังนั้นการแบ่งเซ็กเมนต์ของคอนเทนต์ให้ตรงกลุ่มเป้าหมายจึงเป็นเรื่องสำคัญ เช่น ข่าวของเครื่องสำอาง สกินแคร์ใหม่ๆ เพื่อกลุ่มผู้อ่านผู้หญิงหรือคนที่สนใจเรื่องเหล่านี้เป็นพิเศษ แล้วก็ได้รายได้จากแบนเนอร์ของแบรนด์ ทำให้โมเดลการหารายได้แตกต่างกัน
***BuzzFeed ต้นตำรับ Clickbait
โมเดลการทำเว็บไซต์และรายได้ในลักษณะนี้ไม่ได้เป็นเรื่องใหม่ที่ประเทศไทยเท่านั้น ในต่างประเทศเว็บไซต์หลายแห่งก็สร้างรายได้ด้วยวิธีนี้ โดยต้นตำรับต้องยกให้กับ BuzzFeed ซึ่งก่อตั้งโดย Jonah Peretti ประวัติของเขาไม่ธรรมดา เขาเคยออกรายการทีวีเพราะร้องเรียนแบรนด์ "ไนกี้" ตั้งแต่ปี 2001 ซึ่งสมัยนั้นยังใช้อีเมลกันอยู่เลย แต่กลับกลายเป็นว่าเมลที่เขาเล่าให้เพื่อนฟังกลายเป็นฟอร์เวิร์ดเมลที่ส่งต่อๆ กัน จนสื่อหลักต้องเชิญเขาไปออกทีวี นี่เองที่ทำให้เขาเข้าใจพลังของไวรัลได้ดีกว่าใคร ต่อมาหลังจากเรียนจบปริญญาโทจาก MIT เขาก็เป็นหนึ่งในทีมก่อตั้งเว็บไซต์ข่าว The Huffington Post ซึ่งเป็นคอนเทนต์หนักๆ ก่อนจะแยกตัวมาทำ BuzzFeed ที่ว่าด้วยเรื่องค่อยข้างเบากว่า แต่ประสบความสำเร็จอย่างมาก แต่ละเดือนมีผู้เข้าชมเว็บไซต์ถึง 200 ล้าน Visit เมื่อเดือนสิงหาคมก็เพิ่มระดมทุนได้ 50 ล้านเหรียญ BuzzFeed มีพนักงานถึง 700 คน และมีผังการบริหารใหญ่โต มีคนที่ดูแลเรื่องการเงิน และพัฒนาผลิตภัณฑ์ใหม่ๆ โดยเฉพาะ ปี 2014 ที่ผ่านมาก็ทำเงินได้เกิน 100 ล้านเหรียญ ทีมงานบริหาร BuzzFeed (http://www.buzzfeed.com/about/team)
สูตรสำเร็จของ BuzzFeed ก็คือการคิดพาดหัวข่าว รวมทั้งรูป ที่เข้าใจง่าย ง่ายต่อการแชร์ และมีทรงพลังในโซเชียลมีเดีย จับอินไซต์สำคัญก็คือ "หนุ่มสาวออฟฟิศขี้เบื่อ" และแอบเจ้านายเล่นเฟซบุ๊ก เมื่อเจอกับความอยากรู้ก็จะทำให้พวกเขาคลิกเข้าไปอ่าน และเมื่ออ่านแล้วก็แชร์ต่อเพื่อให้เพื่อนที่อยู่ในอารมณ์เบื่อเหมือนกันเข้าไปอ่านบ้าง อย่างไรก็ตาม BuzzFeed ไม่ได้จมอยู่ในเรื่องข่าวไร้สาระ แต่พยายามจะพัฒนาเรื่องคอนเทนต์อย่างจริงจัง โดยปี 2012 ได้ดึงตัว Ben Smith อดีตบรรณาธิการของ Politico ซึ่งเชี่ยวชาญเรื่องการเมืองมานั่งแท่นบรรณาธิการ คุมนักเขียนกว่า 250 ชีวิต เพื่อผลิตข่าวให้มีคุณภาพมากขึ้น
นอกจากเรื่องคอนเทนต์แล้ว อีกเครื่องมือหนึ่งที่ทำให้BuzzFeed ถูกแชร์เต็มโซเชียลมีเดีย และเว็บไซต์ไทยก็เอามาใช้บ้างก็คือ Quiz (ควิซ) ตัวอย่างของควิซใน BuzzFeed เช่น Can You Become A Pokémon Master? คุณจะเป็นนายของโปเกม่อนได้ไหม หรือ The "Star Wars" Prequel Character Quiz คุณรู้จักสตาร์วอร์ภาคก่อนหน้านี้ ดีแค่ไหน
นี่ไงล่ะต้นตำรับที่ Dek-D Quiz ก็เอาสูตรนี้มาปรับใช้กับคนเล่นอินเทอร์เน็ตของไทย จนกลายเป็นควิซที่มีให้เห็นตามหน้าฟีดเฟซบุ๊กทุกวัน โดยแปลงให้เข้ากับคอนเทนต์ของไทย และอิงกับกระแสที่มาแรงในช่วงนั้น เช่น คุณเป็นตัวละครใดในสุดแค้นแสนรัก (ฝ่ายหญิง) หรือ คุณเหมาะจะเป็นเมียใครใน The Adventure โดยอิงจากคำถามที่คุณตอบ แล้วยังแชร์ในเฟซบุ๊กเรียกเสียงฮาจากเพื่อนให้ไปเล่นบ้าง โดยในระยะแรกเป็นควิซที่ทีมงานเป็นคนตั้งคำถามขึ้นมา แต่ตอนนี้ Dek-D เปิดโอกาสให้สมาชิกตั้งควิซของตัวเองได้อีก จึงทำให้เจาะกลุ่มความสนใจเฉพาะที่มีแต่คนในกลุ่มนั้นๆ ที่จะรู้ เช่น คุณเป็นใครในคณะ xxxx มหาวิทยาลัย xxx หรือ คุณเหมาะจะสังกัดกลุ่มจักรยานสมัครเล่นกลุ่มไหน เรียกได้ว่ามีควิซใหม่ๆ สดๆ ให้เล่นกันไม่รู้จักจบจักสิ้นกันเลย การเปิดให้สมาชิกตั้งควิซได้เองก็เป็นอีกอย่างที่ BuzzFeed ก็ทำเช่นกัน และความฮิตเรื่องทำควิซนี่เองก็ทำให้หลายๆ แบรนด์จับเอาแนวทางมาพัฒนาเป็นแคมเปญ เช่น ซัมซุงที่มี Samsung The Next You ออกมาเป็นควิซให้ทำเพื่อวัดว่าในอนาคตคุณเหมาะกับอาชีพใด กระตุ้นให้คนรุ่นใหม่กล้าที่จะออกไปทำอาชีพตามความใฝ่ฝัน คำตอบจึงออกมาเป็นชื่ออาชีพแปลกๆ เท่ๆ เก๋กู๊ดทั้งนั้น รวมทั้ง Dek-D ก็มีสปอนเซอร์เข้ามาสนับสนุนบางควิซที่เกี่ยวข้องกับแบรนด์นั้นๆ ด้วย
เพื่อต่อยอดให้เครือข่ายเว็บไซต์แข็งแรงขึ้นและเจาะกลุ่มเป้าหมายเฉพาะมากขึ้น BuzzFeed ยังแยกย่อยไปตามความสนใจของผู้อ่าน เช่น BuzzFeed Celebrity เจาะแต่ข่าวดาราและแวดวงสังคมชั้นสูงมานำเสนอ ซึ่งเว็บไซต์อื่นสไตล์นี้ก็ทำเช่นเดียวกัน อย่าง The San Francisco Globe ก็มีเฟซบุ๊ก SFG Impact, SFG Stories, SFG Technology อีกเยอะแยะมากมาย แล้วก็ใช้วิธีโพสต์ลิงก์ซึ่งทั้งหมดพุ่งเข้ามาที่เว็บไซต์ The San Francisco Globe เว็บไซต์หลัก เป็นการใช้พลังของเฟซบุ๊กเต็มสมกับวิสัยทัศน์ของ Jonah Peretti ที่กล่าวในงาน SXSW ต้นปีที่ผ่านมา จน Mashale ถึงกับพาดหัวแบบสุดโต่งว่า BuzzFeed's latest vision: Who needs a website when you have Facebook?http://mashable.com/2015/03/17/buzzfeed-jonah-peretti/ ไม่มีใครต้องการเว็บไซต์อีกแล้ว ในเมื่อมี "เฟซบุ๊ก" แต่ถ้าศึกษาลงไปอย่างละเอียดพบว่า สิ่งที่ Jonah Peretti พูดน่าจะหมายถึงโซเชียลมีเดียทั้งหมด และถึงอย่างไรเขาก็ทำทุกอย่างเพื่อพาคนเข้าเว็บไซต์เขาอยู่ดี โดยในเวลาต่อมาเขาเปิดเผยกับ AdWeekhttp://www.adweek.com/news/press/why-buzzfeed-so-good-finding-millennial...) ว่า แต่ละเดือนเขาได้ Referrals จากทวิตเตอร์ถึง 12.5 ล้านครั้ง, 60 ล้านจาก Pinterest และแน่นอน 349 ครั้งจาก Facebook ส่วนก้าวต่อไปที่ BuzzFeed กำลังเห็นความสำคัญอย่างมากก็คือ คอนเมนต์ประเภทวิดีโอ จนลงทุนในส่วนนี้เพิ่มขึ้นถึง 340% และวิดีโอที่ถูกโพสต์ในเว็บไซต์แห่งนี้ก็มีผู้ชมทะลุ 1,000 ล้านวิวไปแล้ว
***เมื่อ Clickbait ปะทะ เกรียน อย่าคิดว่าหนีเว็บพวกนี้พ้น
พฤติกรรมหนึ่งที่เห็นในหน้าเฟซบุ๊กเมื่อเว็บไซต์เหล่านี้โพสต์ข่าวในเฟซบุ๊ก ก็คือ จะมีคนที่คลิกเข้าไปอ่านก่อนก๊อบปี้ข่าวมาแปะใต้คอมเมนต์ หรือบางครั้งก็สรุปย่อเป็นการสปอยล์ให้คนอื่นไม่ต้องคลิกเข้าไปอ่านต่อ เป็นการลดอัตราการคลิกเข้าสู่เว็บไซต์เหล่านี้ หรือบางทีก็คอมเมนต์ด่า เมื่อเนื้อหาไม่ตรงกับที่พาดหัว นอกจากนี้ยังมีพฤติกรรมอีกอย่างคือ คอมเมนต์เล่าเรื่องตลก หรือโพสต์รูป, ข้อความอะไรที่ไม่เกี่ยวกับเนื้อหาในข่าวเลยสักนิด ประเภทฝากร้านหรือประชาสัมพันธ์งานในอินเทอร์เน็ตก็มีให้เห็นอยู่บ่อยๆ อย่างไรก็ตาม การคอมเมนต์แบบนั้นส่วนหนึ่งก็ช่วยให้แฟนเพจของเว็บไซต์พวกนี้ได้รับคะแนน Engagement ในเฟซบุ๊กอยู่ดี ทำให้เมื่อเพจของเว็บไซต์โพสต์ลิงก์ข่าวก็จะไปมีแนวโน้มว่าไปปรากฏให้เห็นมากขึ้น
นอกจากนี้ยังมีแฟนเพจที่แจ้งเกิดมีผู้ติดตามหลักล้าน จากการนำเอาข่าวของเว็บไซต์กลุ่มนี้มาแชร์ต่อ ทั้งๆ ที่เป็นแฟนเพจขายโทรศัพท์มือถือ หรือเป็นเพจของศิลปิน ไม่ได้มีความเกี่ยวข้องกับข่าวเลย แต่เมื่อคอนเทนต์จากเว็บไซต์ได้รับความนิยมก็ทำให้มีคนไลก์ แชร์ และมีคนเห็นเพจมากขึ้น นี่ก็เป็นผลและพลังที่ส่งให้เว็บไซต์ Clickbait แจ้งเกิด และมีคนหยิบยกมาใช้ประโยชน์ต่อ
เว็บไซต์ประเภทนี้กำลังเป็นที่ถกเถียงกันอย่างมากในแง่ของจริยธรรม เพราะอาศัยการพาดหัวที่เกินจริงไปมาก บางครั้งก็อาศัยแหล่งข่าวจากเว็บไซต์คอมมูนิตี้ เช่น หยิบยกเอากระทู้ใน Pantip มาเขียนเรียบเรียงใหม่ หรือเอาสิ่งที่แชร์ในโซเชียลมีเดียมาขยายตามความเข้าใจของตัวเอง จนกลายเป็นความเข้าใจผิด เช่น "นักข่าว-ช่างภาพ "โมโน 29" โวย "ตามข่าวนี้
http://www.manager.co.th/HotShare/ViewNews.aspx?NewsID=9580000045092
แจ้งเกิดเพราะโซเชียลมีเดีย
ไม่ถึงกับขนาดต้องวิเคราะห์เชิงลึกอะไร เอาแค่พฤติกรรมที่เห็นกันอยู่ทุกวันนี้เมื่อเราเข้าเฟซบุ๊ก หรือแม้แต่อยู่ในไลน์ กรุ๊ป คุณก็จะได้เห็นการแชร์ข่าวจากเว็บไซต์เหล่านี้ ยิ่งพอเข้าไปดูสถิติที่น่าสนใจต่อจะพบว่า เหตุผลที่เว็บไซต์เหล่านี้มีผู้คนรู้จักมากมายก็เพราะ Social Referral Traffic มากกว่า 80% ของผู้ที่เข้าเว็บไซต์ Ohozaa มาจากโซเชียลเน็ตเวิร์ก ขณะที่ Web Referral กับ Direct Traffic หรือการที่มีเว็บไซต์อื่นอ้างอิงถึง กับการที่ผู้ใช้งานเข้าสู่เว็บไซต์โดยตรงมีเลขไม่ถึงหลักเดียว (Direct Traffic อาจจะเป็นข้อมูลที่ไม่ตรงนัก เพราะบางครั้งต่อให้เราจำได้ว่าจะเข้า Facebook แต่เรายังไปพิมพ์ใน Google ก่อน แล้วค่อยคลิกต่ออีกที) แต่เมื่อเทียบกับตัวเลขของเว็บไซต์ Portal แบบดั้งเดิมแล้ว เว็บไซต์กลุ่มนั้นก็มีจำนวนที่เว็บไซต์อื่นๆ อ้างอิงถึง หรือมีแฟนพันธุ์แท้ที่เข้าไปโดยตรงมากกว่า อาจจะเป็นเพราะว่าเมื่อเทียบในแง่ของคุณภาพคอนเทนต์ เว็บไซต์ Dek-D ได้คะแนนสูงสุดที่ 4.4 จากคะแนะนเต็ม10 ส่วน Sanook 4.1 ส่วน Kapook 3.4 ขณะที่ Ohozaa ที่เรากำลังพูดถึงอยู่นี่ได้คะแนน 1.7 (Content Rating เป็นค่าที่ประเมินความน่าสนใจของเนื้อหาในเว็บไซต์ โดยพิจารณา จากพฤติกรรมการใช้งานของผู้เข้าชม เป็นค่าที่อยู่ระหว่าง 0-10 ซึ่งจะคำนวณจาก Average Visit Time, Visit Depth และ Exit Rate) นั่นแปลว่าเว็บไซต์สามารถสร้างพฤติกรรมให้ผู้อ่านเข้าไปเว็บไซต์ได้ก็จริง แต่เมื่ออ่านจบแล้วก็ปิดทันที ไม่อยู่นาน ไม่คลิกอ่านที่ลิงก์บทความอื่นๆ ต่อ
สิ่งนี้สะท้อนพฤติกรรมการเข้าเว็บไซต์ว่ามาจากโซเชียลเน็ตเวิร์ก แทนที่จะเป็นการเสิร์ชคำแบบดั้งเดิม ที่ต้องมีคำยอดฮิตประเภท ดูดวง, หวย, เกม, ฟังเพลง แต่ปรากฏการณ์นี้สะท้อนให้เห็นแล้วว่า สำหรับคนทำเว็บไซต์โซเชียลมีเดียมาแรงกว่า SEO ซะแล้ว
แค่มีคนเข้า มีคนคลิกก็ได้ตังค์
เว็บไซต์สไตล์ Clickbait นี้ไม่ได้มีแค่รายเดียว แต่ต้องบอกว่าผุดขึ้นมามากมาย Thaiza, Catdumb, Meekao, Petmaya, Boxza ฯลฯ นั่นก็เพระาแหล่งรายได้ที่มาจากการติดแบนเนอร์แบบเครือข่ายโฆษณา ซึ่งบางเจ้าอาศัยเพียงแค่จำนวนผู้ที่เห็นแบนเนอร์เจ้าของเว็บไซต์ก็ได้เงินแล้ว หรือบางเครือข่ายจ่ายเงินต่อเมื่อมีคนคลิกโฆษณา แต่ทั้งหมดนี้เป้าหมายที่เจ้าของเว็บไซต์ต้องทำก็คือ กวาดต้อนคนให้เข้าสู่เว็บไซต์ให้ได้มากที่สุด ซึ่งการคำนวณ RPM ซึ่งเป็นสูตรคร่าวๆ ที่ช่วยคำนวณรายได้จากการเข้าเว็บไซต์มีอยู่ว่า RPM = (รายได้โดยประมาณ / จำนวนครั้งของการดูหน้าเว็บ) * 1000 เช่น ถ้าเว็บไซต์ของสามารถสร้างรายได้ 0.15 เหรียญ จากการดูหน้าเว็บ 25 ครั้ง ดังนั้น RPM ของหน้าเว็บของคุณจะเท่ากับ (0.15 / 25) * 1000 หรือเท่ากับ 6.00 เหรียญ ดังนั้นถ้าหากว่าเจ้าของเว็บไซต์อยากได้รายได้ที่เพิ่มมากขึ้นก็ต้องทำให้มีผู้อ่านเข้าสู่เว็บไซต์ต่อวันให้ได้มากที่สุด นี่เองเมื่อเราเข้าเว็บไซต์เหล่านี้ ถึงเจอแบนเนอร์หน้าตาแปลกๆ วิบๆ วับๆ เต็มหน้าจอไปหมด ส่วนดีไซน์ของเว็บไซต์ก็จะอัดจำนวนคอนเทนท์ให้ได้มากที่สุด พร้อมๆ กับการที่มีตำแหน่งแบนเนอร์มากมายเป็นรายได้สำคัญ สูตรการคำนวณรายได้จากเว็บไซต์ https://support.google.com/adsense/answer/190515?hl=th
ขณะที่เว็บไซต์ Portal ใช้วิธีการสร้างรายได้จากการขายแบนเนอร์ ดังนั้นการแบ่งเซ็กเมนต์ของคอนเทนต์ให้ตรงกลุ่มเป้าหมายจึงเป็นเรื่องสำคัญ เช่น ข่าวของเครื่องสำอาง สกินแคร์ใหม่ๆ เพื่อกลุ่มผู้อ่านผู้หญิงหรือคนที่สนใจเรื่องเหล่านี้เป็นพิเศษ แล้วก็ได้รายได้จากแบนเนอร์ของแบรนด์ ทำให้โมเดลการหารายได้แตกต่างกัน
***BuzzFeed ต้นตำรับ Clickbait
โมเดลการทำเว็บไซต์และรายได้ในลักษณะนี้ไม่ได้เป็นเรื่องใหม่ที่ประเทศไทยเท่านั้น ในต่างประเทศเว็บไซต์หลายแห่งก็สร้างรายได้ด้วยวิธีนี้ โดยต้นตำรับต้องยกให้กับ BuzzFeed ซึ่งก่อตั้งโดย Jonah Peretti ประวัติของเขาไม่ธรรมดา เขาเคยออกรายการทีวีเพราะร้องเรียนแบรนด์ "ไนกี้" ตั้งแต่ปี 2001 ซึ่งสมัยนั้นยังใช้อีเมลกันอยู่เลย แต่กลับกลายเป็นว่าเมลที่เขาเล่าให้เพื่อนฟังกลายเป็นฟอร์เวิร์ดเมลที่ส่งต่อๆ กัน จนสื่อหลักต้องเชิญเขาไปออกทีวี นี่เองที่ทำให้เขาเข้าใจพลังของไวรัลได้ดีกว่าใคร ต่อมาหลังจากเรียนจบปริญญาโทจาก MIT เขาก็เป็นหนึ่งในทีมก่อตั้งเว็บไซต์ข่าว The Huffington Post ซึ่งเป็นคอนเทนต์หนักๆ ก่อนจะแยกตัวมาทำ BuzzFeed ที่ว่าด้วยเรื่องค่อยข้างเบากว่า แต่ประสบความสำเร็จอย่างมาก แต่ละเดือนมีผู้เข้าชมเว็บไซต์ถึง 200 ล้าน Visit เมื่อเดือนสิงหาคมก็เพิ่มระดมทุนได้ 50 ล้านเหรียญ BuzzFeed มีพนักงานถึง 700 คน และมีผังการบริหารใหญ่โต มีคนที่ดูแลเรื่องการเงิน และพัฒนาผลิตภัณฑ์ใหม่ๆ โดยเฉพาะ ปี 2014 ที่ผ่านมาก็ทำเงินได้เกิน 100 ล้านเหรียญ ทีมงานบริหาร BuzzFeed (http://www.buzzfeed.com/about/team)
สูตรสำเร็จของ BuzzFeed ก็คือการคิดพาดหัวข่าว รวมทั้งรูป ที่เข้าใจง่าย ง่ายต่อการแชร์ และมีทรงพลังในโซเชียลมีเดีย จับอินไซต์สำคัญก็คือ "หนุ่มสาวออฟฟิศขี้เบื่อ" และแอบเจ้านายเล่นเฟซบุ๊ก เมื่อเจอกับความอยากรู้ก็จะทำให้พวกเขาคลิกเข้าไปอ่าน และเมื่ออ่านแล้วก็แชร์ต่อเพื่อให้เพื่อนที่อยู่ในอารมณ์เบื่อเหมือนกันเข้าไปอ่านบ้าง อย่างไรก็ตาม BuzzFeed ไม่ได้จมอยู่ในเรื่องข่าวไร้สาระ แต่พยายามจะพัฒนาเรื่องคอนเทนต์อย่างจริงจัง โดยปี 2012 ได้ดึงตัว Ben Smith อดีตบรรณาธิการของ Politico ซึ่งเชี่ยวชาญเรื่องการเมืองมานั่งแท่นบรรณาธิการ คุมนักเขียนกว่า 250 ชีวิต เพื่อผลิตข่าวให้มีคุณภาพมากขึ้น
นอกจากเรื่องคอนเทนต์แล้ว อีกเครื่องมือหนึ่งที่ทำให้BuzzFeed ถูกแชร์เต็มโซเชียลมีเดีย และเว็บไซต์ไทยก็เอามาใช้บ้างก็คือ Quiz (ควิซ) ตัวอย่างของควิซใน BuzzFeed เช่น Can You Become A Pokémon Master? คุณจะเป็นนายของโปเกม่อนได้ไหม หรือ The "Star Wars" Prequel Character Quiz คุณรู้จักสตาร์วอร์ภาคก่อนหน้านี้ ดีแค่ไหน
นี่ไงล่ะต้นตำรับที่ Dek-D Quiz ก็เอาสูตรนี้มาปรับใช้กับคนเล่นอินเทอร์เน็ตของไทย จนกลายเป็นควิซที่มีให้เห็นตามหน้าฟีดเฟซบุ๊กทุกวัน โดยแปลงให้เข้ากับคอนเทนต์ของไทย และอิงกับกระแสที่มาแรงในช่วงนั้น เช่น คุณเป็นตัวละครใดในสุดแค้นแสนรัก (ฝ่ายหญิง) หรือ คุณเหมาะจะเป็นเมียใครใน The Adventure โดยอิงจากคำถามที่คุณตอบ แล้วยังแชร์ในเฟซบุ๊กเรียกเสียงฮาจากเพื่อนให้ไปเล่นบ้าง โดยในระยะแรกเป็นควิซที่ทีมงานเป็นคนตั้งคำถามขึ้นมา แต่ตอนนี้ Dek-D เปิดโอกาสให้สมาชิกตั้งควิซของตัวเองได้อีก จึงทำให้เจาะกลุ่มความสนใจเฉพาะที่มีแต่คนในกลุ่มนั้นๆ ที่จะรู้ เช่น คุณเป็นใครในคณะ xxxx มหาวิทยาลัย xxx หรือ คุณเหมาะจะสังกัดกลุ่มจักรยานสมัครเล่นกลุ่มไหน เรียกได้ว่ามีควิซใหม่ๆ สดๆ ให้เล่นกันไม่รู้จักจบจักสิ้นกันเลย การเปิดให้สมาชิกตั้งควิซได้เองก็เป็นอีกอย่างที่ BuzzFeed ก็ทำเช่นกัน และความฮิตเรื่องทำควิซนี่เองก็ทำให้หลายๆ แบรนด์จับเอาแนวทางมาพัฒนาเป็นแคมเปญ เช่น ซัมซุงที่มี Samsung The Next You ออกมาเป็นควิซให้ทำเพื่อวัดว่าในอนาคตคุณเหมาะกับอาชีพใด กระตุ้นให้คนรุ่นใหม่กล้าที่จะออกไปทำอาชีพตามความใฝ่ฝัน คำตอบจึงออกมาเป็นชื่ออาชีพแปลกๆ เท่ๆ เก๋กู๊ดทั้งนั้น รวมทั้ง Dek-D ก็มีสปอนเซอร์เข้ามาสนับสนุนบางควิซที่เกี่ยวข้องกับแบรนด์นั้นๆ ด้วย
เพื่อต่อยอดให้เครือข่ายเว็บไซต์แข็งแรงขึ้นและเจาะกลุ่มเป้าหมายเฉพาะมากขึ้น BuzzFeed ยังแยกย่อยไปตามความสนใจของผู้อ่าน เช่น BuzzFeed Celebrity เจาะแต่ข่าวดาราและแวดวงสังคมชั้นสูงมานำเสนอ ซึ่งเว็บไซต์อื่นสไตล์นี้ก็ทำเช่นเดียวกัน อย่าง The San Francisco Globe ก็มีเฟซบุ๊ก SFG Impact, SFG Stories, SFG Technology อีกเยอะแยะมากมาย แล้วก็ใช้วิธีโพสต์ลิงก์ซึ่งทั้งหมดพุ่งเข้ามาที่เว็บไซต์ The San Francisco Globe เว็บไซต์หลัก เป็นการใช้พลังของเฟซบุ๊กเต็มสมกับวิสัยทัศน์ของ Jonah Peretti ที่กล่าวในงาน SXSW ต้นปีที่ผ่านมา จน Mashale ถึงกับพาดหัวแบบสุดโต่งว่า BuzzFeed's latest vision: Who needs a website when you have Facebook?http://mashable.com/2015/03/17/buzzfeed-jonah-peretti/ ไม่มีใครต้องการเว็บไซต์อีกแล้ว ในเมื่อมี "เฟซบุ๊ก" แต่ถ้าศึกษาลงไปอย่างละเอียดพบว่า สิ่งที่ Jonah Peretti พูดน่าจะหมายถึงโซเชียลมีเดียทั้งหมด และถึงอย่างไรเขาก็ทำทุกอย่างเพื่อพาคนเข้าเว็บไซต์เขาอยู่ดี โดยในเวลาต่อมาเขาเปิดเผยกับ AdWeekhttp://www.adweek.com/news/press/why-buzzfeed-so-good-finding-millennial...) ว่า แต่ละเดือนเขาได้ Referrals จากทวิตเตอร์ถึง 12.5 ล้านครั้ง, 60 ล้านจาก Pinterest และแน่นอน 349 ครั้งจาก Facebook ส่วนก้าวต่อไปที่ BuzzFeed กำลังเห็นความสำคัญอย่างมากก็คือ คอนเมนต์ประเภทวิดีโอ จนลงทุนในส่วนนี้เพิ่มขึ้นถึง 340% และวิดีโอที่ถูกโพสต์ในเว็บไซต์แห่งนี้ก็มีผู้ชมทะลุ 1,000 ล้านวิวไปแล้ว
***เมื่อ Clickbait ปะทะ เกรียน อย่าคิดว่าหนีเว็บพวกนี้พ้น
พฤติกรรมหนึ่งที่เห็นในหน้าเฟซบุ๊กเมื่อเว็บไซต์เหล่านี้โพสต์ข่าวในเฟซบุ๊ก ก็คือ จะมีคนที่คลิกเข้าไปอ่านก่อนก๊อบปี้ข่าวมาแปะใต้คอมเมนต์ หรือบางครั้งก็สรุปย่อเป็นการสปอยล์ให้คนอื่นไม่ต้องคลิกเข้าไปอ่านต่อ เป็นการลดอัตราการคลิกเข้าสู่เว็บไซต์เหล่านี้ หรือบางทีก็คอมเมนต์ด่า เมื่อเนื้อหาไม่ตรงกับที่พาดหัว นอกจากนี้ยังมีพฤติกรรมอีกอย่างคือ คอมเมนต์เล่าเรื่องตลก หรือโพสต์รูป, ข้อความอะไรที่ไม่เกี่ยวกับเนื้อหาในข่าวเลยสักนิด ประเภทฝากร้านหรือประชาสัมพันธ์งานในอินเทอร์เน็ตก็มีให้เห็นอยู่บ่อยๆ อย่างไรก็ตาม การคอมเมนต์แบบนั้นส่วนหนึ่งก็ช่วยให้แฟนเพจของเว็บไซต์พวกนี้ได้รับคะแนน Engagement ในเฟซบุ๊กอยู่ดี ทำให้เมื่อเพจของเว็บไซต์โพสต์ลิงก์ข่าวก็จะไปมีแนวโน้มว่าไปปรากฏให้เห็นมากขึ้น
นอกจากนี้ยังมีแฟนเพจที่แจ้งเกิดมีผู้ติดตามหลักล้าน จากการนำเอาข่าวของเว็บไซต์กลุ่มนี้มาแชร์ต่อ ทั้งๆ ที่เป็นแฟนเพจขายโทรศัพท์มือถือ หรือเป็นเพจของศิลปิน ไม่ได้มีความเกี่ยวข้องกับข่าวเลย แต่เมื่อคอนเทนต์จากเว็บไซต์ได้รับความนิยมก็ทำให้มีคนไลก์ แชร์ และมีคนเห็นเพจมากขึ้น นี่ก็เป็นผลและพลังที่ส่งให้เว็บไซต์ Clickbait แจ้งเกิด และมีคนหยิบยกมาใช้ประโยชน์ต่อ
เว็บไซต์ประเภทนี้กำลังเป็นที่ถกเถียงกันอย่างมากในแง่ของจริยธรรม เพราะอาศัยการพาดหัวที่เกินจริงไปมาก บางครั้งก็อาศัยแหล่งข่าวจากเว็บไซต์คอมมูนิตี้ เช่น หยิบยกเอากระทู้ใน Pantip มาเขียนเรียบเรียงใหม่ หรือเอาสิ่งที่แชร์ในโซเชียลมีเดียมาขยายตามความเข้าใจของตัวเอง จนกลายเป็นความเข้าใจผิด เช่น "นักข่าว-ช่างภาพ "โมโน 29" โวย "ตามข่าวนี้
http://www.manager.co.th/HotShare/ViewNews.aspx?NewsID=9580000045092
แต่ไม่สร้างสรรค์คอนเทนต์ขึ้นมาเอง แต่สิ่งที่ปฏิเสธไม่ได้ก็คือ ปรากฏการณ์ที่เกิดขึ้นนี้สะท้อนพลังของโซเชียลมีเดีย รวมทั้งอินไซต์ของคนได้เป็นอย่างดี ว่าพาดหัวข่าวให้กระตุ้นความอยากรู้อยากเห็นแล้วจะได้ผล ทีนี้ก็ต้องขึ้นอยู่กับผู้อ่านแล้วล่ะว่า จะยอมเป็นปลาฮุบเหยื่อ กดคลิกเข้าไปอ่านหรือเข้าไปไลก์ ไปแชร์ให้เว็บไซต์พวกนี้หรือไม่
ตัดสินใจลอง(อีกซักตั้ง) กรอกสมัคร เปิดรหัสวันนี้
⤵⤵⤵⤵⤵⤵⤵⤵⤵⤵⤵⤵⤵⤵
https://tinyurl.com/umegoldsignup
ติดต่อสอบถาม :089-707-2874
http://line.me/ti/p/~0800437943
แอดขอรับข้อมูลดีๆ
ติดต่อสอบถาม :089-707-2874
เว็บไซต์ : คลิกที่นี่
แอด Facebook ส่วนตัว (Warina May Punyawan): คลิกเลยค่ะ
Facebook Fanpage: Thai MLM Online
ช่อง Youtube : Thai MLM Online 100%
ติดต่อสอบถาม :089-707-2874
แอด Facebook ส่วนตัว (Warina May Punyawan): คลิกเลยค่ะ
Facebook Fanpage: Thai MLM Online
ช่อง Youtube : Thai MLM Online 100%
ติดต่อสอบถาม :089-707-2874
Line ID : 0800437943
แอดเป็นเพื่อน :http://line.me/ti/p/~0800437943
แอดขอรับข้อมูลดีๆ
สมัครสมาชิก:
บทความ (Atom)